ขั้นตอนการสมัครสมาชิก

  1. เข้าไปที่ www.thaiprogrammer.org เลือกสมัครสมาชิกแล้วกรอกข้อมูลให้ครบถ้วน
  2. ถ่ายสำเนาบัตรประชาชนพร้อมเซ็นรับรอง, ระบุอีเมล์ที่ใช้สมัครสมาชิกและเบอร์โทรศัพท์
  3. ชำระเงินที่จุดลงทะเบียน 300.-
Read more 2 Comments

NodeJS ตอนที่ 9 [Cluster]

การทำ Cluster มีความหมายค่อนข้างกว้างและเกี่ยวกับเรื่องการจัดกลุ่ม สำหรับไลบรารี่ Cluster ของ NodeJS คือการแตกโปรเซสออกเป็นหลายๆ โปรเซส เพื่อกระจายการทำงาน สำหรับ NodeJS จะทำงานแบบ Single Thread ถ้าต้องการกระจายงานให้สามารถทำงานพร้อมกันได้หลายงานต้องทำการแตกโปรเซสออกเป็นหลายๆตัว ซึ่งก็คือการทำ Cluster

Machine Learning สำหรับผู้เริ่มต้น

เมื่อวานนี้ 20 /2/2016 มีโอกาสได้มาเรียน Machine Learning กับ ดร.กานต์ ที่ Geeky Base เป็นเวลาครึ่งวัน เนื่องจากไม่ได้ลงทะเบียนไว้ พอดีผ่านมาทำธุระแถวเกษตรพอดี เลยขอท่านอาจารย์มาขอความรู้ด้านนี้ไว้เนื่องจากกำลังสนใจอย่างมาก และถ้าได้รับคำชี้แนะจากคนที่มีประสบการณ์ก็จะได้ไม่หลงทาง สิ่งที่ได้รับจากการเรียนครึ่งวัน ขอสรุปคร่าวๆ ดังนี้

Read more 2 Comments

NodeJS ตอนที่ 8 [การเขียน Asynchronous ด้วย Promise]

จากปัญหา Callback Hell ก็มีไลบรารี่ที่แก้ปัญหาความสวยงามของการเขียนโค้ดแบบ callback ของ JavaScript ออกมาหลายตัว ตัวที่น่าสนใจอีกตัวที่ผมชอบใช้ก็คือ async ซึ่งก็มีความสามารถมากมายสามารถกำหนดลำดับการทำงานแบบต่างๆได้มากมายไม่ว่าจะเป็น waterfall,series ,parallel,etc แต่ก็ยังไม่ตอบโจทย์เรื่องความสวยงามของโค้ด ก็มีการสร้างไลบรารี่ Promise ขึ้นมา เพื่อให้เขียนโค้ด asynchronous แต่ synchronous เป็นลำดับได้ เอ่ะ งง รึเปล่า เอาเป็นว่า Promise จะช่วยให้เราเข้าใจลำดับการทำงานของ asynchronous ที่มีความต่อเนื่องกันได้ง่ายขึ้น จริงรึเปล่าต้องมาลองกันดู

NodeJS ตอนที่ 7 [การเขียนโปรแกรมแบบ Callback]

Java Script Callback ก็คือ การเรียกฟังก์ชั่นแบบ Asynchronous เอ่ะ แล้วการเรียกแบบ Asynchronous มันคืออะไรอีกเนี่ย ? คำว่า Asynchronous กับ Synchronous ในแวดวงวิศวกรรมหรือเทคโนโลยีมักจะได้ยินกันบ่อยๆ ซึ่งมักใช้เกี่ยวกับการรับส่ง ข้อมูล สัญญาณ ในรูปแบบต่างๆ ซึ่งการส่งข้อมูลหรือสัญญาณต่างๆนั้นก็ ต้องมี ผู้ร้องขอ – ผู้ตอบกลับ การส่งแบบ Synchronous นั้นเป็นการรอจังหวะให้การร้องขอและการตอบกลับเสร็จเป็นเรื่องๆไปจึงจะทำงานตามขั้นตอนการร้องขอครั้งใหม่

NodeJS ตอนที่ 6 [เทคนิคการเขียน Route แยก หลายๆไฟล์]

จากตัวอย่างการเขียน Route URIs ของการเขียน RestApi ในตอนที่แล้วนั้น มีเพียง 4 route เท่านั้น คือ /get,/add,/edit และ /delete แต่ในชีวิตจริงแอพหนึ่งแอพมีเป็น 100 route ขึ้นไปแน่นอนตามขนาดแอพ แอพใหญ่ๆอาจจะมีมากถึงหมื่นเลยทีเดียว ส่วนผมเองเคยแตะถึงระดับพันต้นๆเท่านั้น เมื่อมี route มากขึ้น หากมาเขียนไว้ในไฟล์ๆเดียว หากในบริษัทมีคนพัฒนา Api หลายคนคงต้องปวดหัวในการแก้ไขไฟล์หลักนี้แน่นอน ถึงแม้ปัจจุบันมีเครื่องมือในการคอนโทรลเวอร์ชั่นดีๆอย่าง svn และ github ในตอนนี้เราจะมาแก้ไขปัญหานี้แบบง่ายๆ

NodeJS ตอนที่ 5 [Restful API]

การเขียนเว็บเซอร์วิส หรือ เว็บ Api (Application Programming Interface) เพื่อให้เทคโนโลยแพลตฟอร์มต่างๆสามารถแลกเปลี่ยนข้อมูลกันได้ ไม่ว่าจะเป็น OS ,Web ,Mobile Application นั้น มี 2 มาตรฐานที่ได้รับความนิยม ได้แก่

  • SOAP (Simple Object Access Protocol)
  • REST (Representational state transfer)

NodeJS ตอนที่ 3 [JavaScript Basic และการเขียนโมดูล]

NodeJS เป็นเทคโนโลยีที่เรารู้กันว่าเป็น JavaScript ฝั่งเซิร์เวอร์ ดังนั้นก็ต้องมีพื้นฐานภาษา JavaScript จึงจะช่วยให้ทำความเข้าใจในการเขียนโค้ดบน NodeJS ได้ง่ายขึ้น ในบทความนี้จะสรุปเพียงสั้นๆที่พอให้ไปต่อได้เท่านั้น

JavaScript Value Type

ภาษา JavaScript มีการเก็บค่าอยู่ 3 แบบด้วยกัน คือ

boolean ค่าตรรกะ true , false
numeric ค่าตัวเลข Number.

NodeJS ตอนที่ 2 [V8 และ Non Blocking I/O]

Google V8

V8 เป็น Engine ที่สร้างโดย Google ด้วยภาษา C++ ใช้คอมไฟล์ JavaScript ให้เป็น Byte Code ซึ่งช่วยให้ JavaScript ทำงานได้เร็วขึ้นมาก

เมื่อเรา Complie NodeJS จะเป็น Byte code อยู่ในหน่วยความจำ ซึ่งคอมพิวเตอร์เข้าใจทำให้ทำงานได้เร็ว

การคอมไพล์เราได้ลองทำในตอนที่ 1 ดังนี้
node ch1_hello.